โครงการ “ร้อยพลังการศึกษา” จัดสัมมนาเรียนรู้ความหลากหลายของ “เด็กชาติพันธุ์” เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ที่เท่าเทียม

ในประเทศไทยมี “เด็กชาติพันธุ์” ที่ไม่ได้พูดภาษาไทยเป็นภาษาหลัก จึงมักพบอุปสรรคในการเรียนรู้ และมีแนวโน้มที่จะออกจากโรงเรียนกลางคัน ดังนั้น จึงควรสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา คือการให้สิทธิและโอกาส โดยไม่ขึ้นกับความแตกต่างในเรื่องถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ และภาษา

“มูลนิธิยุวพัฒน์” ก้าวของการช่วยเด็กด้อยโอกาส สู่ผลลัพธ์ทางสังคมที่ยั่งยืน

การเข้าถึงการศึกษาของเด็กด้อยโอกาส คือ เป้าหมายของ “ยุวพัฒน์” ด้วยความเชื่อที่ว่า การศึกษาคือพื้นฐานของการพัฒนา และสามารถทำให้เด็กเหล่านี้หลุดพ้นจากวัฏจักรแห่งความยากจนได้

เปลี่ยนวัยว้าวุ่นให้เป็น “วัยรุ่นอุ่นใจ” ติดอาวุธ “ทักษะชีวิต” กับพี่เลี้ยงอาสาและเพื่อนร่วมรั้วเรียน

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของเด็กด้อยโอกาส ไม่เพียงขาดเงินทุนที่จะเข้าถึงการศึกษาเท่านั้น แต่เด็กส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่เปราะบาง
ทำให้ขาดทักษะชีวิตและหลุดออกจากระบบการศึกษา

“โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน” บทเรียนจากพลัง “ท้องถิ่น” ร่วมลดความเหลื่อมล้ำ

เพราะเชื่อว่า…หากเริ่มต้นที่ “ชุมชน”และชุมชนเข้มแข็งแล้ว การจัดการ “การศึกษา”ก็จะตามมาเอง วันนี้ “โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน” มีต้นทุนที่ดี
นั่นคือ “พลังท้องถิ่น” ซึ่งมีส่วนช่วยให้เกิด “การเปลี่ยนแปลง”